รายละเอียดโครงการวิจัย
กลับไปหน้าโครงการวิจัยทั้งหมด

รหัสโครงการ :R000000389
ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) :การประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อองค์การบริหารส่วนตาบลวังบัว อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพช
ชื่อโครงการ (ภาษาอังกฤษ) :-
คำสำคัญของโครงการ(Keyword) :ผู้ให้บริกำร ผู้รับบริกำร ควำมพึงพอใจในกำรรับบริกำร ด้ำนกระบวนกำร ด้ำนเจ้ำหน้ำที่ผู้ให้บริกำร ด้ำนสิ่งอำนวยควำมสะดวก ด้ำนกำรปฏิบัติหน้ำที่ของเจ้ำหน้ำที่
หน่วยงานเจ้าของโครงการ :คณะวิทยาการจัดการ
ลักษณะโครงการวิจัย :โครงการวิจัยเดี่ยว
ลักษณะย่อยโครงการวิจัย :ไม่อยู่ภายใต้แผนงานวิจัย/ชุดโครงการวิจัย
ประเภทโครงการ :โครงการวิจัยใหม่
สถานะของโครงการ :propersal
งบประมาณที่เสนอขอ :18000
งบประมาณทั้งโครงการ :18,000.00 บาท
วันเริ่มต้นโครงการ :01 ตุลาคม 2554
วันสิ้นสุดโครงการ :30 กันยายน 2555
ประเภทของโครงการ :งานวิจัยเชิงสำรวจ
กลุ่มสาขาวิชาการ :สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ (ด้านพัฒนาสังคมและวัฒนธรรม)
สาขาวิชาการ :สาขาสังคมวิทยา
กลุ่มวิชาการ :สังคมวิทยา
ลักษณะโครงการวิจัย :ระดับชาติ
สะท้อนถึงการใช้ความรู้เชิงอัตลักษณ์ : สะท้อนถึงการใช้ความรู้เชิงอัตลักษณ์
สร้างความร่วมมือประหว่างประเทศ GMS : สร้างความร่วมมือทางการวิจัยระหว่างประเทศ
นำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา :นำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาณภาพการศึกษา
เกิดจากความร่วมมือกับภาคการผลิต : เกิดจากความร่วมมือกับภาคการผลิต
ความสำคัญและที่มาของปัญหา :สืบเนื่องจากบทบัญญัติต่างๆ ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 จนมาถึงในปี พ.ศ.2545 รัฐบาลได้ตรากฎหมายที่สาคัญต่อการบริหารราชการและการพัฒนาระบบราชการ คือ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 ซึ่งถือเป็นการนาแนวความคิดเกี่ยวกับการปรับระบบราชการให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ มาแปลงให้เป็นรูปแบบกฎหมายเพื่อให้เกิดผลใช้บังคับเป็นการถาวร นอกเหนือจากการกาหนดเจตนารมณ์ของการมุ่งพัฒนาระบบราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนและบังเกิดผลสัมฤทธิ์ที่สามารถวัดผลได้ และแนวทางอื่นๆ ที่จาเป็นแล้ว พระราชบัญญัติฉบับนี้ยังได้กาหนดให้การปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ซึ่งเป็นมาตรการสาคัญที่ส่งผลให้ส่วนราชการต่างๆ มีความตื่นตัวที่จะดาเนินการด้านนี้มากขึ้น จนกระทั่งต่อมาในปี พ.ศ.2546 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ได้ขยายแนวปฏิบัติเพิ่ม โดยตราพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 เพื่อให้ส่วนราชการต่างๆ ยึดถือเป็นหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารราชการที่เป็นการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ตามเจตนารมณ์ของการปฏิรูประบบราชการที่ต้องการให้ระบบราชการเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนเป็นสาคัญ ซึ่งพระราชกฤษฎีกานี้ ในหมวดที่ 2 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน ได้กาหนดให้ในการปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการนั้น ก่อนเริ่มดาเนินการ ส่วนราชการนั้นจะต้องดาเนินการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนหรือชี้แจงทาความเข้าใจเพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ที่ส่วนรวมจะได้รับจากภารกิจนั้น และให้ถือเป็นหน้าที่ของข้าราชการที่จะต้องคอยรับฟังความคิดเห็นและความพึงพอใจของสังคมโดยรวมและประชาชนผู้รับบริการ เพื่อปรับปรุงหรือเสนอแนะต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อให้มีการปรับปรุงวิธีปฏิบัติราชการให้เหมาะสม (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, 2555)
จุดเด่นของโครงการ :-
วัตถุประสงค์ของโครงการ :การประเมินในครั้งนี้มุ่งประเมินโครงการจานวน 3 โครงการ อันได้แก่ โครงการวังบัวคัพ โครงการประเพณีบุญบั้งไฟ และโครงการจัดกิจกรรมวันผู้สูงอายุตาบลวังบัว ประจาปี 2555 โดยประเมินความพึงพอใจแต่ละโครงการในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. เพื่อประเมินความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ 2. เพื่อประเมินความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ 3. เพื่อประเมินความพึงพอใจด้านสิ่งอานวยความสะดวก 4. เพื่อประเมินความพึงพอใจด้านการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ ขอบเขตของประเมิน การประเมินในครั้งนี้มุ่งประเมินโครงการจานวน 3 โครงการ อันได้แก่ 1. โครงการวังบัวคัพ 2. โครงการประเพณีบุญบั้งไฟ 3. โครงการจัดกิจกรรมวันผู้สูงอายุตาบลวังบัว ประจาปี 2555 นิยำ
ขอบเขตของโครงการ :การประเมินในครั้งนี้มุ่งประเมินโครงการจานวน 3 โครงการ อันได้แก่ 1. โครงการวังบัวคัพ 2. โครงการประเพณีบุญบั้งไฟ 3. โครงการจัดกิจกรรมวันผู้สูงอายุตาบลวังบัว ประจาปี 2555
ผลที่คาดว่าจะได้รับ :1. ผู้บริหารและบุคลากรผู้รับผิดชอบงานขององค์การบริหารส่วนตาบลวังบัว ได้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการดาเนินงานด้านกระบวนการ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ด้านสิ่งอานวยความสะดวก และด้านการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ในโครงการเพื่อนาข้อมูลไปเป็นแนวทางในการปรับปรุงการให้บริการ 2. องค์การบริหารส่วนตาบลวังบัว ได้ผลการประเมินงานด้านกระบวนการ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ด้านสิ่งอานวยความสะดวก และด้านการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ในโครงการ เพื่อนาเสนอต่อคณะอนุกรรมการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ เพื่อพิจารณากาหนดประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษแก่พนักงานองค์การบริหารส่วนตาบลและลูกจ้างประจาปีงบประมาณ 2555
การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ :-
ทฤษฎี สมมุติฐาน กรอบแนวความคิด :การบริการตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Service” ซึ่งได้มีผู้ให้ความหมายไว้แตกต่างกัน ดังนี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พุทธศักราช 2542 ได้ให้คาจากัดความของคาว่า “บริการ” ไว้ว่า หมายถึง การปฏิบัติรับใช้ การให้ความสะดวกต่างๆ เช่น การให้บริการ ใช้บริการ เป็นต้น
วิธีการดำเนินการวิจัย และสถานที่ทำการทดลอง/เก็บข้อมูล :-
คำอธิบายโครงการวิจัย (อย่างย่อ) :-
จำนวนเข้าชมโครงการ :807 ครั้ง
รายชื่อนักวิจัยในโครงการ
ชื่อนักวิจัยประเภทนักวิจัยบทบาทหน้าที่นักวิจัยสัดส่วนปริมาณงาน(%)
นางสาวปาจรีย์ ผลประเสริฐ บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยหัวหน้าโครงการวิจัย16
นางสาวกนิษฐา ศรีภิรมย์ บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยรองหัวหน้าโครงการวิจัย16
นายการันต์ เจริญสุวรรณ บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยผู้ร่วมวิจัย16
นางสาวสุภาภรณ์ หมั่นหา บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยผู้ร่วมวิจัย16
นางสาววรางค์ รามบุตร บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยผู้ร่วมวิจัย16
นางสาวชลธิชา แสงงาม บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยผู้ร่วมวิจัย16

กลับไปหน้าโครงการวิจัยทั้งหมด